ระบบนิเวศของ HBM (High Bandwidth Memory) กลุ่มหุ้น True Market Leader

Image
โพสต์นี้อธิบาย "ระบบนิเวศของ HBM (High Bandwidth Memory)" ว่ามีใครบ้างที่เป็น ซัพพลายเออร์, ผู้ออกแบบชิป (ASIC), และลูกค้า ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในห่วงโซ่การผลิตเทคโนโลยี AI / Cloud / GPU ในยุคปัจจุบัน --- สรุปความหมายแบบง่าย ๆ: 1. HBM Suppliers (ผู้ผลิตหน่วยความจำ HBM) คือบริษัทที่ผลิต หน่วยความจำความเร็วสูง สำหรับการ์ดจอและ AI chips เช่น H100, MI300X ฯลฯ Micron ($MU) SK Hynix ($HXSCL) Samsung ($SSNLF) > ทั้ง 3 รายนี้คือผู้ผลิต HBM ที่ครองตลาดโลก และจำเป็นต่อ AI ทุกแพลตฟอร์ม --- 2. ASIC Designers (ผู้ออกแบบชิปเฉพาะงาน เช่น AI/TPU) ออกแบบชิปที่ใช้ HBM เช่นชิปของ Google, AWS, Microsoft Broadcom ($AVGO) Marvell ($MRVL) Alchip, GUC (บริษัทออกแบบชิปในเอเชีย) > ชิปพวกนี้ไม่ใช่ GPU แต่เป็นชิปเฉพาะทาง (ASIC) ที่ใช้ใน Cloud Data Center --- 3. HBM Customers (ลูกค้าที่ใช้ HBM) • กลุ่ม GPU NVIDIA ($NVDA) AMD ($AMD) Intel ($INTC) • กลุ่ม Cloud / Big Tech Google ($GOOGL) – ใช้ใน Google TPU Amazon ($AMZN) – ใช้ใน AWS Trainium / Inferentia Microsoft ($MSFT) – ใช้ใน MSFT MAIA Meta ($META) –...

Position Sizing กับ Progressive Exposure คือจุดเปลี่ยนของยอดนักเทรด ผู้ปั้นพอร์ตโต 800% ในปีเดียว


2 กระบวนที่สำคัญมากที่คุณ Goverdhan Gajjala ยอดนักเทรดผู้ปั้นพอร์ตโต 800% ในปีเดียวใช้เพื่อให้บรรลุการจัดการความเสี่ยงอย่างปลอดภัย 

คือ Position Sizing กับ Progressive Exposure(ปรับขนาดตามโอกาสความเสี่ยง)

.

๑) ทุกครั้งที่คุณ Goverdhan Gajjala เข้าเทรดครั้งใหม่ เขาจะเริ่มต้นซื้อด้วยเงินที่เขาจะยอมเสียได้เท่านั้น(ซึ่งเป็นเงินก้อนเล็กมาก)

๒) จากนั้นเขาจะค่อยๆ เพิ่มหรือลดความเสี่ยงของบัญชีต่อการเทรด ขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานของหุ้นตัวนั้น

.

๓) เขาจึงเริ่มเทรดไม้แรกด้วยเงินเพียงเล็กน้อย โดยเสี่ยง 0.25% ของบัญชีทั้งหมดของเขาต่อการเทรด 

๔) หากการเทรดนั้นมันไปได้ดีและมีผลตอบแทนเป็นบวก เขาจะค่อยๆ เพิ่มขนาดและ % ความเสี่ยงต่อการเทรด

๖) แต่ถ้าหากการเทรดนั้นมันไม่ดีและขาดทุน เขาจะค่อยๆ ลดความเสี่ยงต่อการเทรดลง

(นี่คือหลักการ Progressive Exposure)

.

๗) แสดงว่าเขาจะเพิ่มเงินลงทุนให้ขนาดใหญ่ขึ้นในหุ้นผู้ชนะ และลงเงินให้น้อยที่สุดเมื่อการเทรดนั้นแย่ที่สุด (นี่คือหลักการ Progressive Exposure)

.

๘) การมีกระบวนการแบบนี้เอง ที่มันเพิ่มผลตอบแทนให้เขาแบบทวีคูณในเดือนที่ได้ผู้ชนะรอบใหญ่(Easy Dollars) และลดการสูญเสียของลงอย่างมากในเดือนที่ขาดทุนติดต่อกัน(Hard Penny)


๙) นี่คือวิธีคำนวณ Position Sizing ของคุณอย่างง่ายๆ:

สมมติว่าขนาดบัญชีของผมคือ $100,000: 

หุ้นที่ผมต้องการเทรดอยู่ที่ $37.43 และผมต้องการเสี่ยง 0.5% ของบัญชีของฉัน (เสียเงิน $500 ถ้ามันลงถึงจุดหยุดขาดทุนที่ $34.58) 

ผมจะรู้ว่า Position Size ของผมต้องเท่ากับ 175 หุ้น หรือ $6,566

.

๑๐) เครื่องคิดเลขจะดูแลคณิตศาสตร์ให้กับคุณ

เพียงปรับตามยอดคงเหลือ ราคาหุ้น ราคา SL และ %ความเสี่ยงต่อการเทรด

.

๑๑) ผมมักจะเทรดโดยรู้ว่าจะต้องเสี่ยงมากแค่ไหน และเพราะเหตุใด

.

๑๒) การเรียนรู้เกี่ยวกับ Position Sizing กับ Progressive Exposure เป็นจุดเปลี่ยนในอาชีพการเทรดของผม และเป็นส่วนสำคัญของผลตอบแทน(ปั้นพอร์ตโต 800%)ของผมในปีที่แล้ว

- - Goverdhan Gajjala

.

.

ปล. ผมเห็นด้วยครับ Position Sizing กับ Progressive Exposure คือจุดเปลี่ยนของผมเช่นกัน



7 บทความยอดนิยมในรอบ 30 วันที่ผ่านมา

รวมแนวทางการนับคลื่นจากเซียน Elliott Wave

คำคมเกี่ยวกับเคล็ดวิชาจากหนังเรื่อง กังฟูแพนด้า

(มือใหม่เล่นหุ้น) แชร์หลักการหาหุ้นเล่นจาก Top Gainer แบบเม่าๆ

ชมฟรี! คอร์สหุ้น ออนไลน์ 170 คลิป จัดเต็ม ไม่มีกั๊ก Free Full Trading Course by Zyo

แนะวิธีดูกราฟหุ้นเบื้องต้น

Volume (โวลุ่ม เทรด ซื้อขายหุ้น) คืออะไร เขาบอกอะไรเราบ้าง?

กราฟหุ้น GFPT ล่าสุด