การเล่นหุ้นขาดทุนหนัก ไม่ใช่จุดจบ แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้น คุณแค่สอบไม่ผ่านเท่านั้น คุณแก้ตัวได้เสมอ

Image
การเทรดหุ้น: ก้าวข้ามธรรมชาติของความกลัว สู่วิถี Zero to Hero   "Zero to Hero ภารกิจเปลี่ยนนักเทรดขาดทุนซ้ำซากให้ได้กำไรสม่ำเสมอ" มีจำหน่ายที่ Mebmarket วันที่ 3 กันยายน 2567 ครับ  https://www.mebmarket.com/?action=book_details&book_id=317619 การขาดทุนหนักจากการเล่นหุ้นอาจทำให้คุณรู้สึกว่าตัวเองล้มเหลว แต่แท้จริงแล้ว นั่นเป็นเพียง "หลักไมล์แรก" ของเส้นทางการเทรดเท่านั้นเอง มันบ่งบอกว่าคุณอาจยังสอบไม่ผ่านหรือทำผลงานไม่ถึงมาตรฐานที่ต้องการ แต่ที่สำคัญคือ การไม่ยอมแพ้และพร้อมที่จะปรับปรุงและพัฒนาตัวเอง คุณแค่สอบไม่ผ่าน ทำผลงานไม่ถึงมาตรฐานเท่านั้นเอง ในเส้นทางการเทรด มาตรฐานที่สำคัญคือการสร้างระบบที่มี ความคาดหวังเชิงบวก (Positive Expectancy) ซึ่งหมายความว่ากลยุทธ์การเทรดของคุณต้องมีโอกาสสร้างกำไรได้ในระยะยาว การขาดทุนอาจเกิดจากการที่คุณยังไม่ได้สร้างมาตรฐานนี้ขึ้นมา หรืออาจยังไม่ได้ปรับปรุงกลยุทธ์การเทรดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ อีบุ๊ก "Zero to Hero" ชี้ทางสว่างให้คุณ หากคุณกำลังมองหาทางแก้ไขและปรับปรุงผลงานของคุณ อีบุ๊ก **"Zero to Hero: ภารกิจเปลี่ยนน

วิธีการสแกนหาหุ้นดาวรุ่งแบบ Mark Minervini

 

1. สแกนกราฟหุ้น คัดเอาที่เป็นขาขึ้น(stage 2) เอาไว้ก่อน 

เก็บรายชื่อไว้ในลิสต์

2. เอารายชื่อหุ้นที่ได้ไปกรองหาตัวที่มีพื้นฐานดี โดยดูจากผลกำไร ยอดขาย และส่วนต่างกำไรที่เพิ่มขึ้น ความได้เปรียบในอุตสาหกรรมและความผันผวนของราคา

3. วิเคราะห์ด้วยตัวเอง โดยให้คะแนนว่าตัวไหนดีกว่ากัน ตามหัวข้อดังนี้

- ผลกำไรและยอดขายประกาศออกมาว่าใครดีกว่า

- ประวัติผลกำไรและยอดขายที่ทำให้ตลาดตื่นเต้น

- การเติบโตและอัตราเร่งของผลกำไรต่อหุ้น (EPS)

- การเติบโตและอัตราเร่งของยอดขาย

- การชี้นำของบริษัทที่พิมพ์(ให้ข่าว)ออกมา

- การปรับประมาณการณ์ผลกำไรของนักวิเคราะห์ที่ให้ราคาเหมาะสมเพิ่มขึ้น

- ส่วนต่างผลกำไร

- ตำแหน่งทางการตลาดและอุตสาหกรรม

- ตัวกระตุ้นที่อาจเกิดขึ้นได้ (ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ หรือการเปลี่ยนแปลงเฉพาะบริษัท หรือเฉพาะอุตสาหกรรม)

- การดำเนินงานเปรียบเทียบกับหุ้นอื่นในหมวดเดียวกัน

- ราคาและวิเคราะห์ปริมาณการซื้อขาย

- ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง




ต่อไปต้องพยายามหาเบาะแสเหล่านี้ให้พบ

1. ผลกำไรและยอดขายในอนาคตที่ทำให้ตลาดตื่นเต้น และการปรับประมาณการในทางบวก

2. มีปริมาณการซื้อขาย สนับสนุนจากนักลงทุนสถาบัน(มีความต้องการซื้อสูง)

3. ราคาปรับขึ้นเร็วจากความไม่สมดุลของ demand supply (แรงขายไม่มี เมื่อเทียบกับแรงซื้อ)

.

สุดท้ายคือการรอจังหวะซื้อที่ใช่ คือ VCP









7 บทความยอดนิยมในรอบ 30 วันที่ผ่านมา

รวมแนวทางการนับคลื่นจากเซียน Elliott Wave

คำคมเกี่ยวกับเคล็ดวิชาจากหนังเรื่อง กังฟูแพนด้า

ชมฟรี! คอร์สหุ้น ออนไลน์ 170 คลิป จัดเต็ม ไม่มีกั๊ก Free Full Trading Course by Zyo

VCP (Volatility Contraction Pattern) และรูปแบบที่คล้ายกัน

จิตวิทยา การวิเคราะห์และใช้งาน แท่งเทียน Doji

อธิบาย Wyckoff Accumulation Phase แบบละเอียดยิบ

วิธีการอ่านสัญญาณแท่งเทียน (Candlesticks Reading) สำหรับมือใหม่