จังหวะพักตัว: พื้นที่แห่งโอกาสของนักสวิงเทรด

"จังหวะพักตัว: พื้นที่แห่งโอกาสของนักสวิงเทรด" สนับสนุนโดย อีบุ๊ค "เคล็ดลึก สวิงเทรด ให้ได้กำไรสม่ำเสมอ"   https://www.mebmarket.com/index.php?action=BookDetails&data=YToyOntzOjc6InVzZXJfaWQiO3M6NzoiMTk5MjQzNSI7czo3OiJib29rX2lkIjtpOjMzNjYyMjt9 ในโลกของการเทรด การเคลื่อนไหวของตลาดไม่ได้มีแต่เส้นทางที่ราบรื่น หลังจากราคาขึ้นอย่างต่อเนื่อง (leg up) ตลาดมักจะเข้าสู่ช่วงพักตัว (pullback) หรือการแกว่งตัวแบบไร้ทิศทางชัดเจน (chop and slop) ซึ่งแม้ว่าจะดูเหมือนช่วงเวลาที่ตลาดไม่มีความแน่นอน แต่นี่คือพื้นที่ที่เต็มไปด้วยโอกาสสำหรับนักเทรดสายสวิงที่มีสายตาแหลมคม จังหวะพักตัวคือช่วงเวลาที่ตลาดปรับสมดุล ทดสอบแรงสนับสนุนและแรงต้าน การสังเกตจังหวะนี้อย่างใกล้ชิดช่วยให้นักเทรดมองเห็นรูปแบบที่สามารถนำไปสู่โอกาสการเทรดที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อราคาหุ้นหรือสินทรัพย์เคลื่อนไหวสอดคล้องกับดัชนี (index) และอาจนำหน้าดัชนีในบางจุด เคล็ดลับจากยอดนักสวิงเทรดการมองรอบราคาตลาด 1. ดูรอบของดัชนีตลาด (Price Cycle): การทำความเข้าใจว่าดัชนีอยู่ในช่วงไหนของวัฏจักรราคา เช่น ช่วงขาขึ้น ช่วงพักตั...

สรุป Trading in the Zone อีกครั้ง จากมุมมองของนักสวิงเทรด

 Trading in the zone

3 ความเชื่อ ที่สำคัญ

1. คุณไม่จำเป็นต้องรู้ว่าอะไรกำลังจะเกิดขึ้นเพื่อทำเงิน

2. อะไรก็สามารถเกิดขึ้นได้

3. ทุกๆขณะนั้นมีความเฉพาะตัว

- ผลการเทรดจะออกมาให้กำไรหรือขาดทุนก็ได้

- รอจนกว่าความได้เปรียบครั้งใหม่ปรากฏตัวขึ้น จึงเข้า

และ ทำซ้ำแบบนี้ไป

.

เจตนารมณ์ของการเขียน

๑. Analysis ไม่ได้ช่วยให้ได้ผลลัพธ์การเทรดที่สม่ำเสมอ ไม่ช่วยแก้ปัญหาทางความคิดของนักเทรด

๒. ทัศนคติ และ ภาวะทางจิตใจ คือตัวกำหนดผลลัพธ์

๓. ความเชื่อ+ทัศนคติของผู้ชนะ มองมุมความน่าจะเป็น

๔. ขจัดความขัดแย้งในใจของนักเทรด ที่ไม่อาจมองผลการเทรดในรูปแบบความน่าจะเป็นได้

๕. ติดตั้งวิธีคิดที่ถูกต้องลงไปในใจของนักเทรด

.

ผู้เขียนแยกนักเทรดออกมาได้ 3 กลุ่ม คือ (หน้า 81)

กลุ่มแรก มีน้อยกว่า 10% เป็นผู้ชนะอย่างสม่ำเสมอ

Equity curve สูงขึ้นอย่างสม่ำเสมอ และมั่นคง โดย drawdown น้อยมาก ตามสภาพตลาด(หรือดีกว่าตลาด) 

กลุ่มที่สอง มีอยู่ 30-40% ขาดทุนอย่างต่อเนื่อง

Equity curve ลดต่ำ อย่างมั่นคง

มีกำไรบ้างบางครั้ง แต่เด้งขึ้นน้อยกว่าร่วงลง

กลุ่มใหญ่สุด มีถึง 40-50% อยู่ในวงจรเฟื่องฟูและตกต่ำ

Equity curve สวิงขึ้น แล้วก็ดิ่งลงกลับมาที่เดิม ไม่สามารถรักษาระดับสูงให้มั่นคงได้

.

๑. Technical ช่วยให้เราเห็นโอกาสทำเงินมากมาย

แต่ทำไมนักเทรดส่วนใหญ่ใช้แล้วขาดทุน?

๒. เพราะปัญหาภายใน วิธีคิดของเขาเอง มิใช่ตลาด

ความสับสน ความกลัว การตอบสนองที่ไม่ถูกต้อง

๓. ตลาดคือความเสี่ยง

นักเทรดคาดหวังกับผลลัพธ์ แต่ไม่ต้องการความเสี่ยง

๔. ความกลัว

90% ของความผิดพลาดในการเทรด 

มีรากฐานมาจากทัศนคติเกี่ยวกับ 

ความกลัว 4 เรื่องนี้

- การเป็นคนผิด 

- การสูญเสียเงิน 

- การพลาดโอกาส 

- การปล่อยกำไรให้หายไป

๕. เอาความกลัว ไปขัดขวาง แทรกกลาง ขัดจังหวะ การเทรดตามแนวทางเทคนิคอล 

1. ซื้อก่อน buy signal

2. ขายก่อน sell signal

3. Sell signal ไม่ขาย

ไม่เคารพการบริหารเงินทุนที่เหมาะสม

.

วิธีแก้

เทรดแบบกาสิโน

7 บทความยอดนิยมในรอบ 30 วันที่ผ่านมา

VCP (Volatility Contraction Pattern) และรูปแบบที่คล้ายกัน

(มือใหม่เล่นหุ้น) Wyckoff Logic ของดีที่เม่ามือใหม่เอาไปใช้ได้ง่ายๆ

คำคมเกี่ยวกับเคล็ดวิชาจากหนังเรื่อง กังฟูแพนด้า

รวมแนวทางการนับคลื่นจากเซียน Elliott Wave

อธิบาย Wyckoff Accumulation Phase แบบละเอียดยิบ

ชมฟรี! คอร์สหุ้น ออนไลน์ 170 คลิป จัดเต็ม ไม่มีกั๊ก Free Full Trading Course by Zyo

ทฤษฏีวัฏจักรตลาดหุ้น (Market Cycle)