จังหวะพักตัว: พื้นที่แห่งโอกาสของนักสวิงเทรด

"จังหวะพักตัว: พื้นที่แห่งโอกาสของนักสวิงเทรด" สนับสนุนโดย อีบุ๊ค "เคล็ดลึก สวิงเทรด ให้ได้กำไรสม่ำเสมอ"   https://www.mebmarket.com/index.php?action=BookDetails&data=YToyOntzOjc6InVzZXJfaWQiO3M6NzoiMTk5MjQzNSI7czo3OiJib29rX2lkIjtpOjMzNjYyMjt9 ในโลกของการเทรด การเคลื่อนไหวของตลาดไม่ได้มีแต่เส้นทางที่ราบรื่น หลังจากราคาขึ้นอย่างต่อเนื่อง (leg up) ตลาดมักจะเข้าสู่ช่วงพักตัว (pullback) หรือการแกว่งตัวแบบไร้ทิศทางชัดเจน (chop and slop) ซึ่งแม้ว่าจะดูเหมือนช่วงเวลาที่ตลาดไม่มีความแน่นอน แต่นี่คือพื้นที่ที่เต็มไปด้วยโอกาสสำหรับนักเทรดสายสวิงที่มีสายตาแหลมคม จังหวะพักตัวคือช่วงเวลาที่ตลาดปรับสมดุล ทดสอบแรงสนับสนุนและแรงต้าน การสังเกตจังหวะนี้อย่างใกล้ชิดช่วยให้นักเทรดมองเห็นรูปแบบที่สามารถนำไปสู่โอกาสการเทรดที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อราคาหุ้นหรือสินทรัพย์เคลื่อนไหวสอดคล้องกับดัชนี (index) และอาจนำหน้าดัชนีในบางจุด เคล็ดลับจากยอดนักสวิงเทรดการมองรอบราคาตลาด 1. ดูรอบของดัชนีตลาด (Price Cycle): การทำความเข้าใจว่าดัชนีอยู่ในช่วงไหนของวัฏจักรราคา เช่น ช่วงขาขึ้น ช่วงพักตั...

สรุปหนังสือ Trade the Trader


สรุปหนังสือ Trade the Trader: Know Your Competition and Find Your Edge for Profitable Trading by Quint Tatro
เป็นหนังสือที่พี่ Gil Moreles บอกว่าเป็นหนึ่งใน 5 หนังสือจิตวิทยาการลงทุน ที่ชอบมากที่สุด



ผมได้สรุปจากบล็อก whatheheckaboom นะ
Trendline ถูกสร้างจาก demand supply
นักเทรดจะหาจังหวะซื้อที่น่าเชื่อถือ จาก trendline

Price pattern ได้รับอิทธิพล จากอารมณ์
หลังจากแนวโน้มได้ถูกสร้างขึ้นมาแล้ว นักเทรดจะตอบสนองมัยด้วยอารมณ์


วางแผนก่อนเทรดและเทรดตามแผน
๑. คุณเป็นมนุษย์ จึงมีอารมณ์ผุดขึ้นมา สามารถเปลี่ยนแปลงความคิด โดยเฉพาะเมื่อเห็นเงินของคุณเพิ่มขึ้นและลดลงต่อหน้าต่อตา
๒. พูดง่ายๆก็คือ คุณต้องวางแผนสิ่งที่คุณควรทำล่วงหน้า เพื่อที่คุณจะได้ไม่ต้องรีบตัดสินใจไวเกินไป

เมื่อคุณมีสูตรสำเร็จ(ที่ใช้ซ้ำได้) ให้เพิ่มวงเงิน(เทรดหนัก-ต่อครั้ง) ไม่ใช่จำนวนครั้งที่มาก(เทรดถี่)


บันทึกการเทรดควรมีอะไรบ้าง?
๑. สัญลักษณ์หุ้น
๒. ลอง หรือ ชอร์ต
๓. ระดับตัดขาดทุน และเหตุผล
๔. เหตุผลที่เข้าเทรด
๕. ความเสี่ยงต่อการเทรดครั้งนั้น
๖. ความเสี่ยงโดยรวมทุกการเทรด
๗. ระดับที่ take profit
๘. อัปเดตผลล่าสุดและแสดงความคิดเห็น


ทำไม false breakout จาก price pattern จึงเสี่ยงสูง
๑. พิจารณาความจริงที่ว่าคุณไม่ใช่คนเดียวที่เห็นรูปแบบนี้และคุณไม่ใช่คนเดียวที่ทำแบบนี้
๒. ยิ่งมีคนเห็นและตามเยอะเท่าไหร่ เมื่อ false breakout การหนีตายจึงรุนแรง
๓. ถ้าหลังจาก false breakout แล้วราคาวิ่งขึ้นมาใหม่ มันมีโอกาสวิ่งแรง ถ้าหากทะลุไปได้
๔. จากประสบการณ์ของเขา จะไม่ทิ้งหุ้นที่เบรกหลอก ให้เฝ้าดูการฟื้นกลับมา

ก่อนที่คุณจะลงเงินจริง
ให้คิดถึงจำนวนเงินที่คุณยอมเสียได้
๑. สำหรับพอร์ตการลงทุน 100,000 ดอลลาร์ ความเสี่ยงต่อการเทรดแต่ละครั้งคือ 0.5% ของจำนวนเงินทั้งพอร์ตการลงทุน



(แนะนำเพิ่มเติม ของฟรี)
หากต้องการศึกษาวิธีเล่นหุ้น แนะนำให้ไปอ่านบทความฟรี คลิปฟรีที่นี่ก่อนก็ได้
เรียนเล่นหุ้น เรียนเทรด forex จิตวิทยาการเทรด มือใหม่เล่นหุ้น
คลิกลิ้งนี้ครับ https://www.zyo71.com/p/index.html เป็นสารบัญเว็บนี้ครับ


ส่วนนี่เป็น ช่องยูทูป ของผมเอง ดูฟรีเช่นกันครับ
เข้าไปชม คลิกที่ลิ้งนี้ www.youtube.com/channel/UCTDoP5zRI4hRETT_2SSlPag/videos








และ eBook มีขายที่เว็บ https://www.mebmarket.com/index.php?action=search_book&type=author_name&search=เซียว%20จับอิดนึ้ง&exact_keyword=1&page_no=1
แยกส่วนกันนะครับ ขายคนละเจ้า
ebook หนังสือสอนเล่นหุ้น

7 บทความยอดนิยมในรอบ 30 วันที่ผ่านมา

VCP (Volatility Contraction Pattern) และรูปแบบที่คล้ายกัน

(มือใหม่เล่นหุ้น) Wyckoff Logic ของดีที่เม่ามือใหม่เอาไปใช้ได้ง่ายๆ

คำคมเกี่ยวกับเคล็ดวิชาจากหนังเรื่อง กังฟูแพนด้า

รวมแนวทางการนับคลื่นจากเซียน Elliott Wave

อธิบาย Wyckoff Accumulation Phase แบบละเอียดยิบ

ชมฟรี! คอร์สหุ้น ออนไลน์ 170 คลิป จัดเต็ม ไม่มีกั๊ก Free Full Trading Course by Zyo

ทฤษฏีวัฏจักรตลาดหุ้น (Market Cycle)